Skip to content

ท่อนำไข่ตันสังเกตได้อย่างไร ?


17 มีนาคม 2025
บทความ

Q : ท่อนำไข่ตันสังเกตได้อย่างไร ?

A : อาการท่อนำไข่ตันส่วนใหญ่แล้วมักจะไม่ค่อยแสดงอาการใดๆแต่สิ่งหนึ่งที่ต้องสังเกตว่าท่อนำไข่ตันหรือไม่อย่างแรกต้องเช็คประวัติการผ่าเช่นเคยได้รับการผ่าตัดเนื้องอก ผ่าตัดเกี่ยวกับรังไข่ ผ่าตัดมดลูก เป็นต้น หากมีประวัติดังกล่าวก็มีโอกาสเสี่ยงได้เนื่องจากจะมีพังผืดที่เกิดขึ้นและอาจจะไปรัดท่อนำไข่ หรืออาจเกิดได้การจากมีประวัติการติดเชื้อบริเวณอุ้งเชิงกรานรวมไปถึงมีหนองเกิดขึ้นแถวบริเวณท่อนำไข่ สาเหตุเหล่านี้ก็อาจทำให้เกิดอาการท่อนำไข่ตันได้ โดยหลายท่านพบว่าตนเองท่อนำไข่ตันก็ต่อเมื่อได้รับการอัลตร้าซาวด์และแพทย์พบเจอว่าท่อนำไข่มีอาการอุดตันมีน้ำอยู่ในท่อนำไข่ ซึ่งในกลุ่มเหล่านี้แพทย์จะแนะนำให้ทำการผ่าตัดออก เพราะว่าน้ำที่อยู่บริเวณท่อรังไข่อาจจะมีโอกาสที่จะย้อนกลับเข้าไปในโพรงมดลูกได้และไปมีผลทำให้ตัวอ่อนที่แพทย์ใส่ไปนั้นอาจหลุดไปได้

ท่อนำไข่ตันคืออะไร?

ท่อนำไข่ตันคือภาวะที่ท่อนำไข่ในระบบสืบพันธุ์ของผู้หญิงมีการอุดตันหรือเกิดความผิดปกติ ซึ่งทำให้การเคลื่อนตัวของไข่จากรังไข่ไปยังมดลูกไม่สามารถทำได้ตามปกติ ท่อนำไข่เป็นสิ่งสำคัญในการปฏิสนธิ เพราะเป็นตัวนำให้ไข่และอสุจิจะเข้ามารวมตัวกันได้ก่อนที่จะปฏิสนธิและก่อนที่ไข่จะเคลื่อนที่ไปยังมดลูกเพื่อฝังตัวที่บริเวณมดลูกและเจริญเติบโตต่อไป หากการฝังตัวนั้นเกิดขึ้นที่ท่อนำไข่แทนอาจทำให้เกิดท้องนอกมดลูกได้ส่งผลเสียให้อัยตรายถึงชีวติหรืออีกหนึ่งผลเสียคือทำให้มีบุตรยากได้เช่นกัน

สาเหตุของการอุดตันของท่อนำไข่สามารถเกิดขึ้นได้จากหลายปัจจัย

  • การติดเชื้อ เช่น การติดเชื้อในอุ้งเชิงกรานซึ่งสามารถทำให้เกิดพังผืดหรือการอุดตันในท่อนำไข่

  • พังผืดจากการผ่าตัด การผ่าตัดในบริเวณท้องน้อยหรืออุ้งเชิงกรานอาจทำให้เกิดพังผืดซึ่งส่งผลให้ท่อนำไข่ตัน

  • ภาวะเยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ ภาวะนี้อาจทำให้เกิดการอุดตันหรือเปลี่ยนแปลงในโครงสร้างของท่อนำไข่

  • การบาดเจ็บจากอุบัติเหตุ การบาดเจ็บในบริเวณท้องน้อยสามารถทำให้ท่อนำไข่เสียหาย

วิธีการรักษาภาวะอาการท่อนำไข่ตัน

การรักษาท่อนำไข่ตันขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรงของการอุดตัน

  • ใช้ยาช่วยในการกระตุ้นให้ไข่ตก (อาจใช้ได้ในผู้ป่วยบางราย และต้องอยู่ภายใต้การดูแลของแพทย์)

  • การผ่าตัดท่อนำไข่ตันเพื่อเปิดทางท่อนำไข่ด้วยวิธีการส่องกล้องเพื่อตัดเอาพังผืดออก

  • แต่ในกรณีที่ไม่สามารถเปิดทางได้ผู้มีภาวะท่อนำไข่ตันต้องตั้งครรภ์โดยใช้เทคโนโลยีช่วยการเจริญพันธุ์ เช่น การทำ ICSI หรือ IVF อาจเป็นทางเลือกที่เหมาะสมเพื่อเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์

เรื่องราวความสำเร็จอื่น ๆ

บทความ

ตรวจฮอร์โมน AMH เพิ่มโอกาสสำเร็จในการตั้งครรภ์สำหรับผู้มีบุตรยาก

Read the story
บทความ

แท้งมา 3 ครั้งยังมีโอกาสท้องได้อีกไหม ? ตอบถามโดย คุณหมอกิตติ ฉัตรตระกูลชัย

Read the story
บทความ

ภาวะรังไข่เสื่อมก่อนกำหนด มีลูกได้ไหม? อาการ สาเหตุ วิธีการรักษา

Read the story
บทความ

กรดโฟลิก (Folic Acid) คืออะไร? มีประโยชน์อย่างไรกับคุณแม่ตั้งครรภ์?

Read the story

นาฬิกาสุขภาพ

เครื่องมือนี้ระบุ :

  • โอกาสตั้งครรภ์ตามธรรมชาติในแต่ละเดือน หากไม่มีปัญหาภาวะมีบุตรยาก
  • อัตราความสำเร็จของการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) ในช่วงอายุเดียวกัน
  • ควรปรึกษาแพทย์เมื่อพยายามตั้งครรภ์ไม่สำเร็จเป็นระยะเวลากี่เดือน

หากคุณกังวลไม่ว่าขั้นตอนใดก็ตาม เราขอแนะนำให้ลงนัดแพทย์หรือขอคำปรึกษาจากพยาบาลฟรี ยิ่งคุณวางแผนได้เร็วเท่าไรโอกาสของคุณก็จะยิ่งมากขึ้นเท่านั้น

เมื่อไหร่ที่ควรขอคำแนะนำ

  • หากคุณมีภาวะถุงน้ำรังไข่หลายใบ (PCOS), เยื่อบุโพรงมดลูกเจริญผิดที่ (Endometriosis) หรือเคยได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็ง เราขอแนะนำให้คุณติดต่อเราทันที เพื่อที่เราจะได้อธิบายทางเลือกทั้งหมดและช่วยเพิ่มโอกาสประสบความสำเร็จให้มากที่สุด
  • หากคุณเป็นผู้หญิงที่มีสถานะโสดและกำลังพิจารณาว่าอยากมีลูกในอนาคต ควรเข้ามาปรึกษาเราแต่เนิ่น ๆ และพิจารณาการฝากไข่ (Egg Freezing) ซึ่งเป็นทางเลือกที่ดีในช่วงที่คุณยังมีไข่จำนวนมาก และสุขภาพของไข่อยู่ในเกณฑ์ที่ดี
กำหนดอายุของคุณและระยะเวลาที่คุณพยายามตั้งครรภ์ (เป็นเดือน)
26
2
โอกาสในการมีบุตรต่อเดือนสำหรับคู่รักที่มีภาวะเจริญพันธุ์ปกติ
โอกาสในการมีบุตรต่อรอบการทำเด็กหลอดแก้ว (IVF) หากมีภาวะมีบุตรยาก

เครื่องคำนวณดัชนีมวลกาย (BMI)

การมีน้ำหนักเกินหรือต่ำกว่าเกณฑ์อาจจะลดความสามารถในการมีบุตรได้ ดังนั้น การรักษาน้ำหนักตัวให้อยู่ในเกณฑ์ปกติจึงเป็นสิ่งสำคัญ

ดัชนีมวลกาย (BMI) เป็นตัวบ่งชี้น้ำหนักตัวของคุณและสามารถคำนวณได้โดยการหารน้ำหนักด้วยส่วนสูง คุณควรตั้งเป้าหมายไว้ที่ค่าดัชนีมวลกายระหว่าง 20 ถึง 25 เนื่องจากจะช่วยเพิ่มโอกาสในการตั้งครรภ์

ค่าดัชนีมวลกายของผู้หญิงต่ำกว่า 19

แม้ในยุคปัจจุบัน ธรรมชาติของร่างกายก็ยังรู้ดีที่สุด หากดัชนีมวลกาย (BMI) ของผู้หญิงต่ำกว่า 19 ร่างกายจะรับรู้ถึงภาวะขาดแคลนอาหารและจะหยุดการตกไข่เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ที่อาจทำให้ทารกขาดสารอาหาร การออกกำลังกายมากเกินไปสามารถลดไขมันในร่างกายและเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ แต่ถ้าหักโหมมากเกินไปอาจทำให้ประจำเดือนหยุดลงด้วยเหตุผลเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงในการแท้งที่สูงขึ้นในผู้หญิงที่มี BMI ต่ำอีกด้วย

น้ำหนักน้อยเกินไป

หากดัชนีมวลกาย (BMI) ของผู้หญิงต่ำกว่า 19 ร่างกายจะรับรู้ถึงภาวะขาดแคลนอาหารและจะหยุดการตกไข่เพื่อป้องกันความเสี่ยงในการตั้งครรภ์ที่อาจทำให้ทารกขาดสารอาหาร การออกกำลังกายมากเกินไปสามารถลดไขมันในร่างกายและเพิ่มมวลกล้ามเนื้อ แต่ถ้าหักโหมมากเกินไปอาจทำให้ประจำเดือนหยุดลงด้วยเหตุผลเดียวกัน นอกจากนี้ยังมีความเสี่ยงในการแท้งที่สูงขึ้นในผู้หญิงที่มี BMI ต่ำอีกด้วย

ค่าดัชนีมวลกายมากกว่า 30

สิ่งนี้สามารถลดความสามารถในการมีบุตรได้ถึง 50% การตั้งครรภ์ในผู้หญิงที่มี BMI สูงกว่า 30 มักจะเกี่ยวข้องกับปัญหาต่างๆ เช่น เบาหวานขณะตั้งครรภ์ ความดันโลหิตสูง ทารกตัวใหญ่ และความเสี่ยงที่เพิ่มขึ้นในการผ่าคลอด

เพิ่มส่วนสูงและน้ำหนักของคุณเพื่อคำนวณดัชนีมวลกายของคุณ